หมูยังฮอต สนค. แนะเร่งยกระดับหมูไทย สร้างความเชื่อมั่น แสวงหาตลาดต่างประเทศ

หมูยังฮอต สนค. แนะเร่งยกระดับหมูไทย สร้างความเชื่อมั่น แสวงหาตลาดต่างประเทศ

avatar

Administrator


177


<p><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,sans-serif">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นายพูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า สนค. ติดตามสถานการณ์การค้าสินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ของไทย ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา (ปี 2562 &ndash; 2565)</span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,sans-serif"> พบว่ามูลค่าการนำเข้าสินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ของโลก ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 6.2 ต่อปี มีประเทศผู้นำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เม็กซิโก และเยอรมนี แม้ว่าความต้องการบริโภคสินค้าสุกรทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แต่ประเทศผู้ผลิตในหลายพื้นที่ยังเผชิญกับความท้าทายหลายด้าน อาทิ <strong>ด้านมาตรฐานความปลอดภัยของสินค้า</strong> ซึ่งที่ผ่านมา การแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (</span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,sans-serif">African Swine Fever: ASF)&nbsp;เป็นปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งประเทศต่างๆ พยายามหาวิธีควบคุมการแพร่ระบาดให้ได้ <strong>ด้านมาตรการส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก</strong> เนื่องจากการทำปศุสัตว์เป็นสาเหตุสำคัญก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ดังนั้น มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมจึงมีบทบาทสำคัญในการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะมหาอำนาจทางการค้าอย่างสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ที่มีการกำหนดมาตรการทางการค้าเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน</span></span></p>

<p><a href="https://uploads.tpso.go.th/Press_หมู PDF 1.pdf" target="_blank">Press_หมู PDF 1.pdf</a></p>

          นายพูนพงษ์ นัยนาภากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า สนค. ติดตามสถานการณ์การค้าสินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ของไทย ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา (ปี 2562 – 2565) พบว่ามูลค่าการนำเข้าสินค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ของโลก ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 6.2 ต่อปี มีประเทศผู้นำเข้าสำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เม็กซิโก และเยอรมนี แม้ว่าความต้องการบริโภคสินค้าสุกรทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แต่ประเทศผู้ผลิตในหลายพื้นที่ยังเผชิญกับความท้าทายหลายด้าน อาทิ ด้านมาตรฐานความปลอดภัยของสินค้า ซึ่งที่ผ่านมา การแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever: ASF) เป็นปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในหลายประเทศทั่วโลก ซึ่งประเทศต่างๆ พยายามหาวิธีควบคุมการแพร่ระบาดให้ได้ ด้านมาตรการส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เนื่องจากการทำปศุสัตว์เป็นสาเหตุสำคัญก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ดังนั้น มาตรการด้านสิ่งแวดล้อมจึงมีบทบาทสำคัญในการค้าระหว่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะมหาอำนาจทางการค้าอย่างสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ที่มีการกำหนดมาตรการทางการค้าเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2566